บทที่ 1


หน่วยการเรียนรู้ที่ 1

ระบบสารสนเทศและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ


1. ระบบสารสนเทศ
ระบบสำรสนเทศ (Information System) หมำยถึง ระบบที่สำมำรถจัดกำรข้อมูลตั้งแต่
กำรรวบรวมและตรวจสอบข้อมูล กำรประมวลผลข้อมูล รวมถึงกำรดูแลรักษำข้อมูล เพื่อให้
ได้สำรสนเทศที่ถูกต้องและทันต่อควำมต้องกำรของผู้ใช้ และผู้ใช้สำมำรถนำสำรสนเทศที่ได้ไป
ประกอบกำรตัดสินใจได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ ซึ่งระบบในที่นี้อำจใช้มนุษย์จัดกำรข้อมูลหรือใช้
คอมพิวเตอร์ในกำรจัดกำรข้อมูลก็ได้ แต่ปัจจุบันนิยมใช้คอมพิวเตอร์ในกำรจัดกำรข้อมูล ซึ่งอำจ
เรียกระบบสำรสนเทศนี้ว่ำ Computer-based Information System
1.1 องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
ระบบสำรสนเทศจะประกอบด้วยหลำยองค์ประกอบอันจะทำให้ได้สำรสนเทศที่ถูกต้องและรวดเร็ว สำหรับองค์ประกอบของระบบสำรสนเทศที่สำคัญมี 5 องค์ประกอบ ดังนี้
1) ฮาร์ดแวร์ (hardware) หมำยถึง ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงต่ำงๆ
เช่น จอภำพ แป้นพิมพ์ เมำส์ ฮำร์ดดิสก์ เครื่องพิมพ์ ลำโพง เป็นต้น รวมถึงอุปกรณ์ที่เชื่อมโยง
คอมพิวเตอร์เข้ำเป็นเครือข่ำย เช่น สำยสัญญำณ โมเด็ม ฮับ เป็นต้น
องค์ประกอบต่างๆ ของระบบสารสนเทศมีความสัมพันธ์กัน ซึ่งช่วยให้ได้สารสนเทศที่ตรงความต้องการของผู้ใช้องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
2) ซอฟต์แวร์ (software) หมายถึง ชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่ควบคุมการทำงาน
ของคอมพิวเตอร์เพื่อให้ได้สารสนเทศที่ผู้ใช้ต้องการ ซอฟต์แวร์แบ่งเป็น 2 ประเภท ดังนี้
1. ซอฟต์แวร์ระบบ (system software) ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของ
คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงต่างๆ เช่น รับข้อมูลจากแป้นพิมพ์ ประมวลผลข้อมูล แสดงผล
รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว หรือเสียง โดยจะถูกรวบรวมและป้อนเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ผ่านทาง
อุปกรณ์หน่วยรับเข้า เช่น แป้นพิมพ์ สแกนเนอร์ เป็นต้น ข้อมูลถือเป็นองค์ประกอบที่สำคัญของ
ระบบสารสนเทศ หากข้อมูลที่ป้อนเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ผิด ผลลัพธ์ที่ได้ก็จะผิดไปด้วย ข้อมูล
ที่ดีซึ่งเหมาะแก่การนำไปใช้งานจะต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้
ซอฟต์แวร์เป็นชุดคำ สั่งที่ควบคุมการทำ งานของคอมพิวเตอร์ ซึ่งถูกเขียนขึ้นโดยนักเขียนโปรแกรม
ทางจอภาพ เป็นต้น ซึ่งซอฟต์แวร์ระบบแบ่งออกเป็นระบบปฏิบัติการ โปรแกรมแปลภาษา
และโปรแกรมอรรถประโยชน์
2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (application
software) เป็นโปรแกรมที่เขียนขึ้นเพื่อ
ให้คอมพิวเตอร์ทำงานเฉพาะในเรื่องใดเรื่อง
หนึ่ง เช่น ซอฟต์แวร์ประมวลผลคำ ซอฟต์แวร์
ตารางทำงาน ซอฟต์แวร์ทางด้านกราฟิกและ
มัลติมีเดีย เป็นต้น
3) ข้อมูล (data) คือ ข้อเท็จจริง
ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวอักษร ตัวเลข สัญลักษณ์
แป้นพิมพ์
การป้อนข้อมูลเข้าคอมพิวเตอร์ผ่านทางอุปกรณ์หน่วยรับเข้า ซึ่งข้อมูลอาจอยู่ในรูปตัวอักษร สัญลักษณ์ รูปภาพ
ภาพเคลื่อนไหว หรือเสียง
1. ถูกต้องและสมเหตุสมผล กล่าวคือ ข้อมูลจะต้องตรงกับความเป็นจริงและ
เชื่อถือได้ ข้อมูลบางอย่างมีความสำคัญ หากไม่ตรงกับความเป็นจริงแล้ว อาจก่อให้เกิดความ
จะต้องมีการเก็บรายละเอียดให้ได้มากที่สุด เช่น ชื่อ อายุ ที่อยู่ หมายเลขโทรศัพท์ สถานภาพ
รายได้ เป็นต้น ทั้งนี้เพื่อให้องค์กรสามารถนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ ซึ่ง
หากขาดข้อมูลใดข้อมูลหนึ่งไป อาจเกิดปัญหาในการทำงาน เช่น หากไม่มีข้อมูลที่อยู่ องค์กรจะ
ไม่สามารถติดต่อกับลูกค้าได้ เป็นต้น
4. สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ กล่าวคือ การเก็บข้อมูลต้องมีการสอบถาม
การใช้งานของผู้ใช้ว่าต้องการใช้งานในเรื่องใดบ้าง จึงจะสามารถสรุปสารสนเทศได้ตรงกับความ
ต้องการของผู้ใช้มากที่สุด ตัวอย่างเช่น หากต้องการเก็บข้อมูลของลูกค้าก็ต้องถามพนักงาน หรือ
ผู้บริหารขององค์กรว่าต้องการเก็บข้อมูลใดบ้าง เพื่อให้องค์กรสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้จริง
5. สามารถพิสูจน์ได้ กล่าวคือ สามารถตรวจสอบแหล่งที่มาได้ ทั้งนี้เพื่อช่วยให้
ผู้ใช้ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลได้
4) บุคลากร (people) คือ ผู้ที่เกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศตั้งแต่การพัฒนาระบบ
สารสนเทศจนกระทั่งการใช้งานและการบำรุงรักษา ซึ่งบุคลากรเป็นองค์ประกอบที่สำคัญที่สุดใน
ระบบสารสนเทศ บุคลากรจะต้องมีความรู้ความสามารถในการใช้ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และปฏิบัติ
ตามขั้นตอนที่ถูกต้อง เพื่อทำให้ได้สารสนเทศที่มีคุณภาพ บุคลากรแบ่งเป็น 4 กลุ่ม ดังนี้
เสียหายได้ ตัวอย่างเช่น ข้อมูลลูกค้าที่เป็น
เพศชาย จะต้องมีคำนำหน้าว่านาย เป็นต้น
2. ทันสมัย กล่าวคือ ข้อมูลที่
ป้อนให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ต้องมีความเป็น
ปัจจุบันทันสมัยอยู่ตลอดเวลา เพื่อการนำไปใช้
ประโยชน์ได้จริง ตัวอย่างเช่น ข้อมูลหมายเลข
โทรศัพท์ของลูกค้า จะต้องมีการปรับปรุงให้
ทันสมัย หากหมายเลขโทรศัพท์ล้าสมัยก็จะ
ไม่สามารถติดต่อกับลูกค้าได้ในกรณีฉุกเฉิน
3. สมบูรณ์ กล่าวคือ การเก็บ
ข้อมูลต้องครบถ้วน หากเก็บข้อมูลบางส่วน
ก็อาจจะไม่สามารถใช้ประโยชน์จากสารสนเทศ
ได้เต็มประสิทธิภาพ ตัวอย่างเช่น ข้อมูลลูกค้า
1. ผู้ใช้ เป็นผู้ที่มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถใช้คอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์
ได้อย่างคล่องแคล่วและถูกต้อง
2. ผู้ดูแลระบบ เป็นผู้มีความรู้และความเชี่ยวชาญในการจัดการระบบ ได้แก่
การบำรุงรักษาข้อมูลให้ทันสมัย แก้ปัญหาเมื่อระบบเกิดปัญหา การควบคุมรักษาความปลอดภัยระบบ
4. นักเขียนโปรแกรม เป็นผู้เขียนหรือพัฒนาโปรแกรมเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงาน
ได้ตามความต้องการของผู้ใช้ ซึ่งต้องมีความรู้เกี่ยวกับภาษาคอมพิวเตอร์เป็นอย่างดี
5) ขั้นตอนการปฏิบัติงาน (procedure) คือ วิธีการ ลำดับขั้นตอนในการปฏิบัติงาน
หรือกระบวนการในการจัดการข้อมูลให้เป็นสารสนเทศที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ ได้แก่ การ
รวบรวมและตรวจสอบข้อมูล การประมวลผลข้อมูล และการดูแลรักษาข้อมูล รวมทั้งการแก้ปัญหา
ระหว่างการปฏิบัติงานเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างราบรื่น ซึ่งจะมีคู่มือการใช้งานโปรแกรม
ทำให้ผู้ใช้ทราบรายละเอียดการใช้งาน และมีคู่มือด้านเทคนิคของโปรแกรม ทำให้ผู้พัฒนาระบบ
ทราบว่าโปรแกรมมีการออกแบบไว้อย่างไร สามารถแก้ไขหรือดูแลรักษาได้อย่างไร
องค์ประกอบต่างๆ ของระบบสารสนเทศมีความสัมพันธ์กัน กล่าวคือ นักวิเคราะห์
และออกแบบระบบจะทำการวิเคราะห์และออกแบบระบบงานหรือโปรแกรมให้เป็นไปตามความ
ต้องการของผู้ใช้ และส่งการออกแบบมายังนักเขียนโปรแกรมเพื่อให้เขียนโปรแกรม จากนั้นจะนำ
โปรแกรมลงในคอมพิวเตอร์เพื่อให้ผู้ใช้เรียกใช้งานโปรแกรมได้ ซึ่งผู้ใช้สามารถศึกษาการใช้งาน
โปรแกรมประยุกต์จากคู่มือการใช้งาน ซึ่งถ้าองค์ประกอบสมบูรณ์ สารสนเทศที่ได้จากโปรแกรม
ย่อมมีความถูกต้องและสมบูรณ์ ส่งผลให้องค์กรมีสารสนเทศในการตัดสินใจที่แม่นยำ
โดยมีการกำหนดสิทธิ์ในการใช้งานระบบที่
แตกต่างกันให้กับผู้ใช้แต่ละราย เช่น ให้ผู้ใช้
สามารถดูข้อมูลได้อย่างเดียว หรือแก้ไขข้อมูล
ส่วนใดของระบบได้บ้าง นอกจากนี้ต้องวางแผน
ป้องกันกรณีเกิดความเสียหายกับระบบ ได้แก่
การสำรองข้อมูล (backup) และการกู้คืนข้อมูล
เมื่อเกิดความเสียหาย
3. นักวิเคราะห์และออกแบบ
ระบบ เป็นผู้ที่ทำหน้าที่วิเคราะห์ความต้องการ
ของผู้ใช้งาน และออกแบบโปรแกรมประยุกต์
ให้เหมาะสมกับการทำงานและความต้องการ
1.2 ชนิดของระบบสารสนเทศ
องค์กรส่วนใหญ่จะใช้ระบบสำรสนเทศในกำรทำงำน โดยแต่ละองค์กรจะเลือกใช้ระบบ
สำรสนเทศที่ตอบสนองควำมต้องกำรที่แตกต่ำงกัน ซึ่งระบบสำรสนเทศแบ่งเป็น 5 ชนิด ดังนี้
1) ระบบสารสนเทศสานักงาน (Office Information System : OIS) หรือ
ระบบสำนักงำนอัตโนมัติเป็นระบบที่ใช้ในกำรผลิตสำรสนเทศของสำนักงำนได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ
โดยอำศัยเทคโนโลยีสำรสนเทศ และเทคโนโลยี
เครื่องใช้สำนักงำน เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์
สแกนเนอร์ เครื่องพิมพ์ เครื่องถ่ำยเอกสำร
เครื่องโทรสำร เป็นต้น รวมถึงซอฟต์แวร์ต่ำงๆ
เช่น โปรแกรมประมวลคำ (word processing
software) จดหมำยอิเล็กทรอนิกส์ (e-mail)
ไปรษณีย์เสียง (voice mail) ระบบประชุมทำง
ไกลผ่ำนดำวเทียม (teleconferencing) เป็นต้น
2) ระบบสารสนเทศประมวลผล
รายการ (Transaction Processing System
: TPS) หรือระบบประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing : EDP)
เป็นระบบสำรสนเทศที่มีกำรนำคอมพิวเตอร์มำใช้บันทึกข้อมูลรำยกำรที่เกิดขึ้นประจำวันของส่วน
ใดส่วนหนึ่งในธุรกิจนั้นๆ ตัวอย่ำงเช่น รำยกำรขำยสินค้ำให้กับลูกค้ำ รำยกำรฝำก-ถอนเงินของ
ลูกค้ำธนำคำร รำยกำรจองตั๋วเครื่องบิน เป็นต้น ซึ่งข้อมูลรำยกำรที่เกิดขึ้นประจำวันดังกล่ำวจะ
เป็นข้อมูลพื้นฐำนสำหรับกำรนำไปประมวลผลเป็นสำรสนเทศสำคัญของระบบสำรสนเทศอื่นๆ
3) ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System :
MIS) เป็นระบบสำรสนเทศที่นำข้อมูลรำยกำรที่เกิดขึ้นประจำวันจำกระบบสำรสนเทศประมวลผล
รำยกำร จำกแผนกต่ำงๆ มำสรุปเป็นรำยงำนสำคัญสำหรับผู้บริหำร เพื่อประโยชน์สำหรับกำรบริหำร
จัดกำร ได้แก่ กำรควบคุมหรือตรวจสอบกำรดำเนินงำน กำรวำงแผน และกำรตัดสินใจดำเนินงำน
4) ระบบสารสนเทศสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System :
DSS) เป็นระบบสำรสนเทศที่พัฒนำควำมสำมำรถเพิ่มเติมจำกระบบสำรสนเทศเพื่อกำรบริหำร
โดยระบบจะสนับสนุนควำมต้องกำรเฉพำะของผู้บริหำรแต่ละคน ซึ่งระบบจะใช้ตัวแบบ (model)
ในกำรวำงแผน ทำนำย และสรุปทำงเลือกสำหรับกำรตัดสินใจได้หลำยๆ ทำง สำหรับผู้บริหำร
ตัดสินใจได้สะดวกรวดเร็ว โดยผู้บริหำรต้องอำศัยควำมรู้และประสบกำรณ์ตัดสินใจเลือกทำงเลือก
ที่ระบบเสนอแนะมำด้วยตนเอง
ปัจจุบันกำรพัฒนำระบบสนับสนุนกำรตัดสินใจได้นำไปใช้ในธุรกิจหลำยด้ำน ตัวอย่ำง
เช่น ระบบสนับสนุนกำรตัดสินใจในกำรปลูกพืชผ่ำนเครือข่ำยอินเทอร์เน็ต โดยโปรแกรมจะนำข้อมูล
จำกฐำนข้อมูลด้ำนเศรษฐศำสตร์กำรผลิตของพืชเศรษฐกิจมำประมวลผล และนำเสนอทำงเลือกให้
ผู้ใช้ตัดสินใจได้ ดังนี้
5) ระบบสารสนเทศสนับสนุนผู้บริหาร (Executive Information System :
EIS) เป็นระบบสำรสนเทศที่พัฒนำขึ้นเพื่อสนับสนุนสำรสนเทศและกำรตัดสินใจสำหรับผู้บริหำร
ระดับสูง โดยระบบจะประมวลผลสำรสนเทศให้ผู้บริหำรมองเห็นภำพรวมการดำเนินงำนของบริษัท
ประกอบกับผู้บริหำรเป็นกลุ่มบุคคลที่มีข้อจำกัดด้ำนระยะเวลำในกำรเข้ำถึงและทำควำมเข้ำใจกับ
ข้อมูล ดังนั้นส่วนใหญ่สำรสนเทศจะอยู่ในรูปแบบของกรำฟิกที่ดูเข้ำใจง่ำย เช่น กรำฟ ตำรำง
ภำพ 3 มิติ เป็นต้น รวมทั้งนำเสนอสำรสนเทศขององค์กรโดยสรุป และสำมำรถเรียกดูลึกเข้ำไปใน
รำยละเอียดที่ต้องกำรได้ ซึ่งระบบสำรสนเทศสนับสนุนผู้บริหำรจำเป็นต้องใช้ข้อมูลทั้งจำกภำยใน
และภำยนอกองค์กร
2. เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ
ปัจจุบันเครือข่ำยอินเทอร์เน็ตที่มีควำมเร็วสูงส่งผลให้ระบบเศรษฐกิจเชื่อมโยงทั่วโลก ธุรกิจ
ต่ำงๆ ต้องแข่งขันกันสูงขึ้น ดังนั้น ธุรกิจที่สำมำรถใช้ประโยชน์จำกข้อมูลและสำรสนเทศได้เร็ว
มำกขึ้นเท่ำไร ย่อมได้เปรียบคู่แข่งขันทำงธุรกิจมำกขึ้นตำมไปด้วย หำกต้องบริหำรบริษัทที่มี
ข้อมูลลูกค้ำนับพันรำย และต้องนำใบเสร็จกำรขำยสินค้ำมำประมวลผลว่ำแต่ละเดือนบริษัทมีกำร
ซื้อสินค้ำใดมำกที่สุด สินค้ำใดน้อยที่สุด คงต้องใช้เวลำนำน ปัจจุบันหน่วยงำนหรือองค์กรต่ำงๆ
จึงได้นำระบบสำรสนเทศมำใช้ในกำรตัดสินใจขององค์กรมำกขึ้น โดยระดับของกำรใช้เทคโนโลยี
สำรสนเทศเพื่อกำรตัดสินใจในองค์กรมีอยู่ 3 ระดับ ดังนี้
2.1 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจของบุคคล
เทคโนโลยีสำรสนเทศเพื่อกำรตัดสินใจในระดับบุคคลนั้น จะเป็นกำรที่แต่ละบุคคลในองค์กร
ใช้ระบบสำรสนเทศเพื่อเพิ่มประสิทธิภำพในกำรทำงำน ซึ่งจะใช้ระบบสำรสนเทศ 2 ชนิด ได้แก่
1) ระบบสารสนเทศสานักงาน เป็นกำรใช้โปรแกรมสำเร็จรูปและเครื่องใช้สำนักงำน
เช่น โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ดพิมพ์เอกสำร โปรแกรมไมโครซอฟต์พำวเวอร์พอยท์นำเสนองำน
โดยสำมำรถกรอกข้อควำม กรำฟ ตำรำง รูปภำพ ภำพเคลื่อนไหว และเสียง ที่ช่วยให้ผลงำน
น่ำสนใจ ใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เอ็กเซลล์กรอกข้อมูล คำนวณ สร้ำงกรำฟ และคำนวณผลลัพธ์
ของข้อมูลได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ เป็นต้น
2) ระบบสารสนเทศประมวลผลรายการ เพื่อบันทึกข้อมูลประจำวัน เช่น ใช้
ซอฟต์แวร์กำรขำยสินค้ำในกำรบันทึก ปรับปรุง ลบ และค้นหำรำยกำรสินค้ำ ซึ่งช่วยให้กำรทำงำน
สะดวกและรวดเร็วขึ้น เป็นต้น
2.2 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจของกลุ่ม
เทคโนโลยีสำรสนเทศเพื่อกำรตัดสินใจของกลุ่ม เป็นกำรใช้เทคโนโลยีสำรสนเทศที่ช่วยเสริม
กำรทำงำนของกลุ่มบุคคลให้สำมำรถทำงำนร่วมกันได้อย่ำงมีประสิทธิภำพมำกขึ้น โดยมีหลักกำร
คือ กำรนำเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลมำเชื่อมโยงกันเป็นเครือข่ำยระยะใกล้ หรือระยะไกล ทำให้
มีกำรใช้ทรัพยำกร ในระบบเครือข่ำยร่วมกันได้
เทคโนโลยีสำรสนเทศเพื่อกำรตัดสินใจ
ของกลุ่ม สำมำรถประยุกต์ใช้กับงำนต่ำงๆ ใน
องค์กรได้ ตัวอย่ำงเช่น ระบบกำรจองทัวร์
พนักงำนในบริษัทที่ทำหน้ำที่รับสั่งจองทัวร์ให้
ลูกค้ำมีอยู่หลำยคน และใช้ระบบประมวลผล
รำยกำรในกำรเก็บข้อมูลลูกค้ำของบริษัทไว้ที่
ส่วนกลำง โดยพนักงำนในกลุ่มสำมำรถเข้ำถึง
ข้อมูลลูกค้ำเพื่อตรวจสอบข้อมูลได้ โดยไม่ต้อง
รอพนักงำนคนใดคนหนึ่ง ทำให้ธุรกิจดำเนินต่อ
ไปได้โดยไม่หยุดชะงัก
นอกจำกนี้ เทคโนโลยีสำรสนเทศเพื่อกำรตัดสินใจอำจใช้กำรสื่อสำรด้วยระบบไปรษณีย์
อิเล็กทรอนิกส์ กำรประชุมผ่ำนเครือข่ำย ระบบสนับสนุนกำรตัดสินใจของกลุ่ม ระบบกำรไหลเวียน
อัตโนมัติของเอกสำร ระบบกำรจัดตำรำงเวลำของกลุ่ม ระบบบริหำรโครงกำรของกลุ่ม ระบบกำร
ใช้แฟ้มข้อควำมร่วมกันของกลุ่ม ระบบประมวลผลภำพเอกสำร เป็นต้น ปัจจุบันโปรแกรมประยุกต์
มีประสิทธิภำพเกี่ยวกับกำรทำงำนเป็นกลุ่มมำกขึ้น ตัวอย่ำงเช่น กำรประชุมทำงไกลผ่ำนเครือข่ำย
(video conference system) เป็นกำรนัดหมำยกำรประชุมของผู้ที่อยู่ห่ำงไกล โดยระบบจะทำให้
ประชุมปรึกษำหำรือกันได้โดยอยู่ต่ำงสถำนที่กัน ระบบสำมำรถส่งภำพ เสียง และข้อมูลบนหน้ำจอ
คอมพิวเตอร์ โดยถ้ำผู้ประชุมคนใดคนหนึ่งมีกำรแก้ไขข้อมูลบนหน้ำจอคอมพิวเตอร์ผู้ใช้คนอื่นที่ใช้
อยู่บนเครือข่ำยคอมพิวเตอร์นี้ก็จะได้รับข้อมูลที่ผ่ำนกำรแก้ไขแล้วนั้นทันทีเสมือนอยู่ในห้องประชุม
เดียวกัน ทำให้ลดต้นทุนกำรเดินทำง ค่ำที่พัก และเวลำจำกกำรเดินทำงได้เป็นอย่ำงดี
2.3 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจขององค์กร
เทคโนโลยีสำรสนเทศเพื่อกำรตัดสินใจขององค์กร เป็นกำรใช้เทคโนโลยีสำรสนเทศมำ
เชื่อมโยงระบบสำรสนเทศของแผนกต่ำงๆ ในองค์กรเข้ำด้วยกัน เพื่อส่งผ่ำนข้อมูลจำกแผนกหนึ่ง
ไปยังแผนกหนึ่ง ทั้งนี้เนื่องจำกกำรบริหำรงำนของผู้บริหำรระดับสูงจำเป็นต้องใช้ข้อมูลร่วมกันจำก
หลำยแผนกเพื่อประกอบกำรตัดสินใจ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น